เหงือกปลาหมอ
ชื่อสามัญ
ชื่อพฤกษศาสตร์
เหงือกปลาหมอดอกขาว - Acanthus ebracteatus Vahl
เหงือกปลาหมอดอกม่วง - Acanthus ilicifolius Linn.
ชื่ออื่น
เหงือกปลาหมอแดง จะเกร็ง อีเกร็ง (สมุทรปราการ) แก้มหมอเล (กระบี่) แก้มหมอ (สตูล)
วงศ์
ACANTHACEAE
ลักษณะของพืช
ไม้พุ่ม สูง 0.5 - 1.0 เมตร
มี 2 พันธุ์
1.เหงือกปลาหมอดอกขาว (พบมากในภาคกลางและภาคตะวันออก)
2.เหงือกปลาหมอดอกม่วง (พบทางภาคใต้ )
วิธีปลูก
การบำรุงรักษา
การขยายพันธุ์ ใช้กิ่งปักชำ เจริญเติบโตได้ดีในที่ร่ม มีความชุ่มชื้นสูง
การปลูก นำกิ่งที่ไม่แก่และไม่อ่อนจนเกินไป อายุ 1-2 ปี มาชำลงในดินโคลน คอยรดน้ำให้ชุ่ม ประมาณ 2 เดือน จะงอกราก จึงทำการย้ายปลูก
การใช้ประโยชน์
ต้น, เมล็ด - เมล็ดเป็นยาขับพยาธิ ใช้น้ำคั้นใบทาศีรษะ ช่วยบำรุงรากผม บรรเทาอาการคันที่ผิวหนัง
ใบ - ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ
ข้อมูลเพิ่มเติม
** ชนิดดอกขาวพบในภาคกลาง และภาคตะวันออก
** ชนิดดอกม่วงพบทางภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป
อ้างอิง